6/09/2011

ความหมายของการตีความ

คู่มือ GPP สาขาการเงิน การธนาคาร และการประกันภัย

1. คุ้มรวม

อุตสาหกรรมในหมวดใหญ่นี้ อาทิ ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์

ธนาคารออมสิน และสถาบันการเงินอื่นๆ สถานประกอบการซึ่งดำเนินกิจการเกี่ยวกับการจัดหาแหล่งเงินทุน การจัดสรรเงินทุนในธุรกิจ การบริการทางการเงิน การให้เช่าทรัพย์สิน การประกันภัย กองทุนบำเหน็จบำนาญ และสถานประกอบการซึ่งดำเนินกิจการเกี่ยวกับการให้บริการทางด้านธุรกิจ เช่น บริการบริหารงานด้านตลาดการเงิน บริการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ การดำเนินการเป็นที่ปรึกษาทางการเงิน ธนาคารในการกู้ยืมเพื่อซื้ออสังหาริมทรัพย์และการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

2.การจำแนกรายการ


หมวดใหญ่ หมวดย่อย หมู่ใหญ่ หมู่ย่อย กิจกรรม รายละเอียดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

J ตัวกลางทางการเงิน

65 ตัวกลางทางการเงิน ยกเว้นการ

ประกันภัยและกองทุนบำเหน็จบำนาญ

651 สถาบันการเงิน(ธนาคาร)

6511 65110 ธนาคารกลาง(ธนาคารแห่งประเทศไทย

รวมทั้งฝ่ายกิจการ และฝ่ายออกบัตร)

6519 สถาบันการเงินอื่นๆ

65191 ธนาคารพาณิชย์และกิจการวิเทศธนกิจ

65192 ธนาคารออมสิน

65193 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์

การเกษตร

65194 ธนาคารอาคารสงเคราะห์

65195 สหกรณ์การเกษตร

65196 สหกรณ์ออมทรัพย์

659 ตัวกลางทางการเงินอื่นๆ

6591 65910 การบริการด้านการเงินเพื่อการเช่า

สินทรัพย์

6592 การให้สินเชื่อประเภทอื่นๆ

หมวดใหญ่ หมวดย่อย หมู่ใหญ่ หมู่ย่อย กิจกรรม รายละเอียดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ


65921 บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่ง

ประเทศไทย

65922 ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง

และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

65923 ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่ง

ประเทศไทย

65924 โรงรับจำนำ(สถานธนานุเคราะห์ สถาน

ธนานุบาล และโรงรับจำนำเอกชน)

65929 สถาบันการเงินซึ่งมิได้จัดประเภทไว้ใน

ที่อื่น

6599 65990 ตัวกลางทางการเงินอื่นๆ ซึ่งมิได้จัด

ประเภทไว้ในที่อื่น (บริษัทเงินทุน

หลักทรัพย์ บริษัทเครดิตฟองซิเอร์

และกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนา

สถาบันการเงิน)

66 660 การประกันภัยและกองทุนบำเหน็จ

บำนาญ ยกเว้นการประกันสังคมภาค

บังคับ

6601 66010 การประกันชีวิต

6602 66020 กองทุนบำเหน็จบำนาญ (กองทุนสำรอง

เลี้ยงชีพและกองทุนบำเหน็จบำนาญ

ข้าราชการ)

6603 60030 การประกันวินาศภัย

67 บริการเสริมสถาบันการเงิน

671 บริการเสริมสถาบันการเงิน ยกเว้น

การประกันภัยและกองทุนบำเหน็จ

บำนาญ

หมวดใหญ่ หมวดย่อย หมู่ใหญ่ หมู่ย่อย กิจกรรม รายละเอียดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ


6711 67110 การบริหารงานด้านตลาดการเงิน

(ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย)

6712 การบริการซื้อขายหลักทรัพย์

67121 บริษัทเงินทุน

67122 ผู้ประกันการจำหน่ายหลักทรัพย์

(บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรม

ขนาดย่อม)

67123 นายหน้าและผู้ซื้อขายตลาดหลักทรัพย์

(บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม)

67190 บริการเสริมสถาบันการเงินซึ่งมิได้จัด

ประเภทไว้ในที่อื่น(สถานรับแลกเปลี่ยน

เงินตราต่างประเทศ องค์การบริหาร

สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ บรรษัทตลาด

รองสินเชื่อที่อยู่อาศัย บรรษัทบริหาร

สินทรัพย์สถาบันการเงิน องค์การเพื่อ

การปฏิรูประบบสถาบันการเงิน

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ สมาคม

ธนาคารไทย บรรษัทบริหารสินทรัพย์

สถาบันการเงินเอกชน (Private AMC) และบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย(TAMC) )

672 6720 67200 บริการเสริมการประกันภัยและกองทุน

บำเหน็จบำนาญ

การจำแนก/รายการ รายละเอียดเฉพาะกิจกรรมในจังหวัดชัยนาท

ประเภทสถาบันการเงิน

1. 65191 ธนาคารพาณิชย์และกิจการวิเทศธนกิจ

2. 65192 ธนาคารออมสิน

3. 65193 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

4. 65194 ธนาคารอาคารสงเคราะห์

5. 65195 สหกรณ์การเกษตร

6. 65196 สหกรณ์ออมทรัพย์

ประเภทสถาบันทางการเงินอื่นๆ

1. 65922 ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(SME)

2. 65924 โรงรับจำนำ (สถานธนานุเคราะห์ สถานธนานุบาล และโรงรับจำนำ)

ประเภทการประกันภัย และกองทุนบำเหน็จบำนาญ ยกเว้นการประกันภัยสังคมภาคบังคับ

1. 66010 การประกันชีวิต

3.วิธีการคำนวณ

มูลค่าเพิ่ม (VA) = รายได้จากการดำเนินงาน (GO) ค่าใช้จ่ายขั้นกลาง (IC)

มูลค่าการผลิตในสาขาการผลิตนี้ มีข้อแตกต่างจากสาขาการผลิตอื่นๆที่ไม่ใช้การเงิน คือ สาขานี้
ไม่สามารถหามูลค่าการผลิต หรือรายได้จากการดำเนินงานโดยตรงได้ ต้องใช้วิธีทางอ้อมดังนี้

1.ประเภทสถาบันการเงิน และโรงรับจำนำ (ยกเว้นการประกันภัย)

รายได้จากการดำเนิน ประกอบด้วย

1.รายได้จากดอบเบี้ยสุทธิ = ดอกเบี้ยรับ-ดอกเบี้ยจ่าย (โดยดอกเบี้ยรับนี้รวมถึง ดอกเบี้ยจากการให้กู้ยืมและรายได้จากการนำเงินรับฝากไปใช้ประโยชน์ในแหล่งต่างๆ )

2.ค่าธรรมเนียมทุกประเภท

3.ค่าบริการอื่น

4.รายได้อื่นๆ(กรณีโรงรับจำนำให้รวมรายได้จากการจำหน่ายทรัพย์หลุดจำนำด้วย)

2.การประกันภัย

รายได้จากการดำเนินงาน ประกอบด้วย

1.เบี้ยประกันภัยรับ หักค่าสินไหมทดแทน

หักเงินสำรองประกันภัยสุทธิ

2.รายได้สุทธิจากการลงทุน

3.รายได้อื่น เช่น ค่าธรรมเนียมรับ

ค่าใช้จ่ายขั้นกลาง สาขาการเงิน การธนาคารฯ ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในสำนักงาน เช่นค่าไฟฟ้า ค่าประปา ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ ค่าเครื่องเขียนแบบพิมพ์ต่างๆ ค่าโทรศัพท์ ค่าไปรษณีย์
โทรเลข ค่าพาหนะและน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าธรรมเนียมจ่าย ฯลฯ

4.แหล่งข้อมูล

รายการข้อมูล

แหล่งข้อมูล

1. ธนาคารพาณิชย์

2. ธนาคารออมสิน

3. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

การหารายได้

1.ใช้ข้อมูลดอกเบี้ยรับ และดอกเบี้ยจ่ายจากยอดปริมาณเงินฝาก และปริมาณเงินกู้ ซึ่งกลุ่มงาน CFO ส่งให้ทาง E- mail : cnt@cgd.go.th และทุกจังหวัด

2. ค่าธรรมเนียมรับ ใช้สัดส่วนรายได้จาก
ค่าธรรมเนียม และรายได้อื่นๆ/ดอกเบี้ยรับสุทธิ (จากสศช.) คูณ (ดอกเบี้ยรับ
ดอกเบี้ยจ่าย)
ซึ่งกลุ่มงาน
CFO ส่งให้ทาง E- mail : cnt@cgd.go.th และทุกจังหวัด

การหาค่าใช้จ่ายขั้นกลาง
(ในกรณีใช้สัดส่วน IC/GO จากสศช. =
GO*สัดส่วน(IC/GO) จากสศช.
ซึ่งกลุ่มงาน
CFO ส่งให้ทาง E- mail : cnt@cgd.go.th และทุกจังหวัด

ขอข้อมูลจากธนาคารออมสิน สำนักงานภาคที่จังหวัดอุทัยธานีทั้ง IC และ GO จะได้ข้อมูลของธนาคารออมสินทุกสาขาในจังหวัดชัยนาท โดยทำหนังสือไปที่ธนาคารออมสินภาคที่จังหวัดอุทัยธานี

ขอข้อมูลที่สำนักงานธนาคารเพื่อการเกษตรและ

สหกรณ์การเกษตรสาขาชัยนาททั้ง IC และ GOจะได้ข้อมูลของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรทุกสาขาในจังหวัดชัยนาท

โดยทำหนังสือไปที่สำนักงานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรสาขาชัยนาท

รายการข้อมูล

แหล่งข้อมูล

4. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม

5. สหกรณ์การเกษตร

การหารายได้

1. ข้อมูลรายได้ ขอจากธนาคาร SME ไม่ได้ต้องใช้วิธีทางอ้อมโดยหาสัดส่วนของจังหวัด ใช้ปริมาณสินเชื่อ และดอกเบี้ยรับของประเทศในการหาสัดส่วน

ดอกเบี้ยรับ หาจาก
สัดส่วนปริมาณสินเชื่อจังหวัด/ประเทศ
= ปริมาณสินเชื่อที่ SME ให้กู้ หารปริมาณสินเชื่อที่ SME ให้กู้ทั้งประเทศ

ดอกเบี้ยรับจากการให้กู้ที่ SME จังหวัดได้รับ=ดอกเบี้ยรับจากการให้กู้ที่ SME ทั้งประเทศได้รับคูณสัดส่วนปริมาณสินเชื่อจังหวัด/ประเทศ

หมายเหตุ

ปริมาณสินเชื่อที่ SME ให้กู้ทั้งประเทศ และ
ดอกเบี้ยรับจากการให้กู้ที่
SME ทั้งประเทศ
ได้รับ ดูใน
Website ของธนาคาร SME หัวข้อ รายงานประจำปี หรือWebsite ของ สศช.

การหาค่าใช้จ่ายขั้นกลาง

ขอข้อมูลค่าใช้จ่ายขั้นกลางที่ธนาคาร SME โดยตรงได้โดยทำหนังสือไปที่ธนาคาร SME สาขาชัยนาท

1. ขอข้อมูลที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดทั้ง IC และ GO โดยสาขานี้จะใช้ข้อมูลเฉพาะรายได้จากธุรกิจสินเชื่อ เท่านั้นส่วนรายได้อื่นๆให้ใส่ไว้ในสาขาอื่นๆดังนี้

1. 1 รายได้จากธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย

นับรวมไว้ในสาขาการค้าส่ง ค้าปลีกฯ

1.2 ธุรกิจรวบรวมผลิตผล นับรวมไว้สาขาการค้าส่ง ค้าปลีกฯ

รายการข้อมูล

แหล่งข้อมูล

6. สหกรณ์ออมทรัพย์

7. สถานธนานุบาล

8. กองทุนหมู่บ้าน

9. การประกันชีวิต

1.3 ธุรกิจให้บริการและส่งเสริมฯ นับรวมไว้ในสาขาเกษตร

1.4 รายได้จากการรับส่งสินค้า นับรวมไว้ในสาขาขนส่ง

1.5 อื่นๆ นับรวมไว้ในสาขาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

ในส่วนค่าใช้จ่ายขั้นกลาง หากไม่สามารถแยกค่าใช้จ่ายขั้นกลางของกิจกรรมการให้สินเชื่อได้ให้บันทึกค่าใช้จ่ายขั้นกลางของสหกรณ์โดยรวมแล้วใส่ในสูตร Worksheet จะคำนวณหาสัดส่วนเฉพาะค่าใช้จ่ายขั้นกลาง

ธุรกิจสินเชื่อ ให้เอง

คล้ายกับสหกรณ์การเกษตร ทั้งนี้จังหวัดชัยนาทมีเฉพาะรายได้ที่เกิดจากธุรกิจสินสินเชื่อ
เท่านั้น จึงสามารถใส่
IC กับ GO ได้เลย ไม่ต้องคำนวณหาสัดส่วนเหมือนสหกรณ์การเกษตร

มี 2 แห่ง เป็นโรงรับจำนำของรัฐคือของเทศบาลเมืองชัยนาท กับเทศบาลวัดสิงห์ ทำหนังสือ
ขอข้อมูลไปที่โรงรับจำนำทั้ง 2 แห่งโดยทำหนังสือไปที่สถานธนานุบาลอำเภอเมือง และสถานธนานุบาลอำเภอวัดสิงห์

ทำหนังสือขอข้อมูลจากสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดชัยนาท

กรณีที่กรมการประกันภัยประกาศ
ตัวเลขเบี้ยประกันภัยรับจังหวัดชัยนาท และสินไหมทดแทนจังหวัดชัยนาทแล้วให้ใช้ตัวเลขดังกล่าวใส่ใน Worksheet ได้เลย

รายการข้อมูล

แหล่งข้อมูล

ซึ่งกลุ่มงาน CFO ส่งให้ทาง E- mail : cnt@cgd.go.th และทุกจังหวัด หรือ Website กรมการประกันภัย หัวข้อ ผลการรับประกันชีวิตแบ่งตามจังหวัดหรือสาขารวมทุกประเภทปี....ที่แยกเป็นรายจังหวัด

www.doi.go.th

กรณีที่กรมการประกันภัยยังไม่ประกาศ
ตัวเลข เบี้ยประกันภัยรับจังหวัดชัยนาท และสินไหมทดแทนจังหวัดชัยนาทให้ใช้วิธีทางอ้อม
โดยการหาเบี้ยประกันภัยรับทั้งประเทศกับ
สินไหมทดแทนทั้งประเทศ แล้วนำมาคิดแยกสัดส่วนของเบี้ยประกันภัยรับจังหวัด และ
สินไหมทดแทนจังหวัด โดยดูข้อมูลจาก
Website กรมการประกันภัย หัวข้อ ผลการรับประกันชีวิตแบ่งตามจังหวัดหรือสาขารวมทุกประเภทปี....ที่แยกเป็นรายจังหวัด

วิธีการประมาณการเบี้ยประกันภัยรับในกรณีที่กรมการประกันภัยยังไม่มีการรายงานข้อมูล

รายจังหวัดของปีปัจจุบัน

1. ประมาณการเบี้ยประกันภัยรับของจังหวัดในปีปัจจุบัน โดยหาสัดส่วนร้อยละของ
เบี้ยประกันภัยรับของจังหวัดเทียบกับยอด
เบี้ยประกันภัยรวมทั้งประเทศ โดยใช้ข้อมูลของปีก่อนหน้า1ปี นำสัดส่วนที่ได้มาคำนวณหา
เบี้ยประกันภัยรับของจังหวัดในปีปัจจุบัน
โดยนำสัดส่วนที่ได้ไปคูณกับยอดเบี้ยประกันภัยรับทั้งประเทศของปีปัจจุบันจะได้ผลการประมาณการเบี้ยประกันภัยรับของจังหวัด

รายการข้อมูล

แหล่งข้อมูล

2. ประมาณการสินไหมทดแทนของจังหวัดในปีปัจจุบัน โดยใช้วิธีการเทียบกับเบี้ยประกันภัยรับตามแนวทาง ข้อ1

3.นำข้อมูลเบี้ยประกันภัยรับและสินไหม
ทดแทนที่ประมาณการได้ใส่ลงในตารางคำนวณได้เบี้ยประกันภัยรับกรณียังไม่มีการรายงาน
ข้อมูล

ภาคผนวก

1. ธนาคารพาณิชย์และกิจการวิเทศธนกิจ

2. ธนาคารออมสิน

ธนาคารออมสิน สาขาชัยนาท

ธนาคารออมสิน สาขาหันคา

ธนาคารออมสิน สาขาสรรคบุรี

ธนาคารออมสิน สาขาสรรพยา

ธนาคารออมสิน สาขาวัดสิงห์

ธนาคารออมสิน สาขามโนรมย์

3. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรสาขาชัยนาท

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรสาขาวัดสิงห์

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรสาขาหันคา

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรสาขาสรรคบุรี

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรสาขาสรรพยา

4. ธนาคารอาคารสงเคราะห์สาขาชัยนาท

5. สหกรณ์การเกษตร

ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรชัยนาท จำกัด

ที่อยู่ 113 ม.6 ถ.เขื่อนเจ้าพระยา ต.บ้านกล้วย อ.เมือง จ.ชัยนาท โทร 0-5641-1437

สหกรณ์การเกษตรเมืองชัยนาท จำกัด

ที่อยู่ 74 ถ.พหลโยธิน ต.บ้านกล้วย อ.เมือง จ.ชัยนาท โทร 0-5641-1164

สหกรณ์การเกษตรมโนรมย์ จำกัด

ที่อยู่ 359/4 ม.4 ถ.อุทัย-มโนรมย์ อ.มโนรมย์ จ.ชัยนาท โทร 0-5649-1041

สหกรณ์การเกษตรวัดสิงห์ จำกัด

ที่อยู่ 136 ม.11 ถ.วัดสิงห์- ดอนตาล ต.มะขามเฒ่า อ.วัดสิงห์ จ.ชัยนาท โทร 0-5646-1013

สหกรณ์การเกษตรสรรพยา จำกัด

ที่อยู่ 170/1 ม.3 ถ.บางไก่เถื่อนช่องแคบ ต.ตลุก อ.สรรพยา จ.ชัยนาท โทร 0-5643-3520

สหกรณ์การเกษตรหันคา จำกัด

ที่อยู่ 692 ม.1 ถ.หันคา-บ้านไร่ ต.หันคา อ.หันคา จ.ชัยนาท โทร 0-5645-1073

สหกรณ์การเกษตรสรรคบุรี จำกัด

ที่อยู่ 189/6 ม.8 ถ.สรรคบุรี-ชันสูตร ต.แพรกศรีราชา จ.ชัยนาท โทร 0-5648-1270

สหกรณ์การเกษตรเขื่อนเจ้าพระยา จำกัด

ที่อยู่ 207 ม.4 ถ.สิงห์บุรี-อุทัยธานี ต.สรรพยา อ.สรรพยา จ.ชัยนาท โทร 0-5649-9102

สหกรณ์การเกษตรทุ่งวัดสิงห์ จำกัด

ที่อยู่ 79 ม.9 ต.มะขามเฒ่า อ.วัดสิงห์ จ.ชัยนาท โทร 0-5643-0224

5.10สหกรณ์การเกษตรหนองมะโมง จำกัด

ที่อยู่ 185 ม.1 ต.หนองมะโมง อ.หนองมะโมง จ.ชัยนาท โทร 0-5646-6273

5.11 สหกรณ์การเกษตรรวมใจพัฒนา จำกัด

ที่อยู่ 141/3 ม.3 ต.หันคา อ.หันคา จ.ชัยนาท โทร 0-5645-2178

5.12 สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ชัยนาท จำกัด

ที่อยู่ 58/8 ถ.วงษ์โต ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ชัยนาท โทร 0-5641-2620

5.13 สหกรณ์โคนมหันคา ชัยนาท จำกัด

ที่อยู่ 421/56 ม.1 ต.หันคา อ.หันคา จ.ชัยนาท โทร 0-5642-2577

5.14 สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินสรรคบุรี จำกัด

ที่อยู่ 322 ม.13 ต.ดงคอน อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท

5.15 สหกรณ์การเกษตรผสมผสานบ้านวังไผ่ จำกัด

ที่อยู่ 10 ม.4 ต.ชัยนาท อ.เมือง จ.ชัยนาท

5.16 สหกรณ์การเกษตรเนินขาม จำกัด

ที่อยู่ 96 ม. ต.เนินขาม อ.เนินขาม จ.ชัยนาท

5.17 สหกรณ์การเกษตรราวเทียนทองโป่งกำแพง จำกัด

ที่อยู่ 221 ม.6 ต.เนินขาม อ.เนินขาม จ.ชัยนาท

5.18 สหกรณ์การเกษตรศิลาดาน จำกัด

ที่อยู่ 108 ม.2 ต.ท่าฉนวน อ.มโนรมย์ จ.ชัยนาท

5.19 สหกรณ์ผู้ใช้น้ำวัดโคก จำกัด

ที่อยู่ 394/4 ม.4 ถ.อุทัย-มโนรมย์ ต.คุ้งสำเภา อ.มโนรมย์ จ.ชัยนาท

5.20 สหกรณ์ผู้ใช้น้ำบางหลวง จำกัด

ที่อยู่ 75/1 ม.5 ต.บางหลวง อ.สรรพยา จ.ชัยนาท

5.21 สหกรณ์ผู้ใช้น้ำตลุก จำกัด

ที่อยู่ 92/1 ม.1 ต.ตลุก อ.สรรพยา จ.ชัยนาท

5.22 สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสรรพยาสามัคคี จำกัด

ที่อยู่ 143 ม.7 ต.สรรพยา อ.สรรพยา จ.ชัยนาท

5.23 สหกรณ์ผู้ใช้น้ำหาดอาษา จำกัด

ที่อยู่ 14 ม.6 ต.หาดอาษา อ.สรรพยา จ.ชัยนาท

5.24 สหกรณ์ผู้ใช้น้ำลุ่มน้ำเจ้าพระยา จำกัด

ที่อยู่ 1/1 ม.1 ต.หนองหม้อ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์

5.25 สหกรณ์ผู้ใช้น้ำรวมน้ำใจ จำกัด

ที่อยู่ ตลาดกลางข้าวเปลือก ต.แพรกศรีราชา อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท โทร 0-5647-1363
5.26 สหกรณ์ผลิตเสบียงสัตว์ชัยนาท จำกัด

ที่อยู่ 377 ม.5 ต.บางหลวง อ.สรรพยา จ.ชัยนาท โทร 0-5641-6695

5.27 สหกรณ์ผู้ใช้น้ำเสือโฮกพัฒนา จำกัด

ที่อยู่ สภาตำบล ม.3 ต.เสือโฮก อ.เมือง จ.ชัยนาท

5.28 สหกรณ์ผู้เลี้ยงเป็ดชัยนาท จำกัด

ที่อยู่ 26 ม.3 ต.หนองน้อย อ.วัดสิงห์ จ.ชัยนาท

5.29 สหกรณ์การเกษตรผสมผสานบ้านเด่นใหญ่ จำกัด

ที่อยู่ ม.1 ต.เด่นใหญ่ อ.หันคา จ.ชัยนาท

6 . สหกรณ์ออมทรัพย์

6.1 สหกรณ์ออมทรัพย์ครูชัยนาท จำกัด

ที่อยู่ 148 ถ.พหลโยธิน ต.บ้านกล้วย อ.เมือง จ.ชัยนาท โทร 0-5641-1067

6.2 สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจชัยนาท จำกัด

ที่อยู่ 302/5 ถ.ชัยณรงค์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ชัยนาท โทร 0-5642-1551

6.3 สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขชัยนาท จำกัด

ที่อยู่ 199 ถ.พหลโยธิน ต.บ้านกล้วย อ.เมือง จ.ชัยนาท โทร 0-5641-2514

6.4 สหกรณ์ออมทรัพย์ชลประทานที่ 12 จำกัด

ที่อยู่ 379 ม.5 ต.บางหลวง อ.สรรพยา จ.ชัยนาท โทร 0-5642-6602

7. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME)

8.1 ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสาขาชัยนาท

8. โรงรับจำนำ

9.1 สถานธนานุบาล อำเภอเมืองชัยนาท

9.2 สถานธนานุบาล อำเภอวัดสิงห์

ตารางสรุปขนาดกิจกรรม ขนาด N และ n

กิจกรรม

N (จำนวนกิจกรรมทั้งหมด)

n (จำนวนที่สุ่มตัวอย่าง)

1.ธนาคารพาณิชย์
* ใช้ข้อมูลส่วนจากกลาง

ปี พ.ศ.2546 = 1

ปี พ.ศ. 2546 = 1

ปี พ.ศ.2547 = 1

ปี พ.ศ. 2547 = 1

ปี พ.ศ.2548 = 1

ปี พ.ศ. 2548 = 1

ปี พ.ศ.2549 = 1

ปี พ.ศ. 2549 = 1

2.ธนาคารออมสิน

ปี พ.ศ.2546 = 6

ปี พ.ศ. 2546 = 6

ปี พ.ศ.2547 = 6

ปี พ.ศ. 2547 = 6

ปี พ.ศ.2548 = 6

ปี พ.ศ. 2548 = 6

ปี พ.ศ.2549 = 6

ปี พ.ศ. 2549 = 6

3.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

ปี พ.ศ.2546 = 5

ปี พ.ศ. 2546 = 5

ปี พ.ศ.2547 = 5

ปี พ.ศ. 2547 = 5

ปี พ.ศ.2548 = 5

ปี พ.ศ. 2548 = 5

ปี พ.ศ.2549 = 5

ปี พ.ศ. 2549 = 5

4.ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

ปี พ.ศ.2546 = 1

ปี พ.ศ. 2546 = 1

ปี พ.ศ.2547 = 1

ปี พ.ศ. 2547 = 1

ปี พ.ศ.2548 = 1

ปี พ.ศ. 2548 = 1

ปี พ.ศ.2549 = 1

ปี พ.ศ. 2549 = 1

5.สหกรณ์การเกษตร

ปี พ.ศ.2546 = 29

ปี พ.ศ. 2546 = 12

ปี พ.ศ.2547 = 29

ปี พ.ศ. 2547 = 12

ปี พ.ศ.2548 = 29

ปี พ.ศ. 2548 = 12

ปี พ.ศ.2549 = 29

ปี พ.ศ. 2549 = 12

6.สหกรณ์ออมทรัพย์

ปี พ.ศ.2546 = 4

ปี พ.ศ. 2546 = 4

ปี พ.ศ.2547 = 4

ปี พ.ศ. 2547 = 4

ปี พ.ศ.2548 = 4

ปี พ.ศ. 2548 = 4

ปี พ.ศ.2549 = 4

ปี พ.ศ. 2549 = 4

7.สถานธนานุบาล

ปี พ.ศ.2546 = 1

ปี พ.ศ. 2546 = 1

ปี พ.ศ.2547 = 2

ปี พ.ศ. 2547 = 2

ปี พ.ศ.2548 = 2

ปี พ.ศ. 2548 = 2

ปี พ.ศ.2549 = 2

ปี พ.ศ. 2549 = 2

กิจกรรม

N (จำนวนกิจกรรมทั้งหมด)

n (จำนวนที่สุ่มตัวอย่าง)

8.กองทุนหมู่บ้าน

ปี พ.ศ.2546 = 499

ปี พ.ศ. 2546 = 499

ปี พ.ศ.2547 = 499

ปี พ.ศ. 2547 = 513

ปี พ.ศ.2548 = 513

ปี พ.ศ. 2548 = 513

ปี พ.ศ.2549 = 513

ปี พ.ศ. 2549 = 513

9.การประกันชีวิต

* ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง

ปี พ.ศ.2546 = 1

ปี พ.ศ. 2546 = 1

ปี พ.ศ.2547 = 1

ปี พ.ศ. 2547 = 1

ปี พ.ศ.2548 = 1

ปี พ.ศ. 2548 = 1

ปี พ.ศ.2549 = 1

ปี พ.ศ. 2549 = 1

จัดทำคู่มือ เมษายน 2551

ผู้รวบรวมข้อมูล นางสาววิชชุลดา พ่วงลัดดาวัลย์

No comments:

Post a Comment

Search for content in this blog.

Life Insurance