6/21/2011

LIFE INSURANCE QUOTES

LIFE INSURANCE QUOTES

term life insurance features

lowest life insurance quote term life insurance no medical exam

Budget Life serves term life insurance and whole life insurance consumers with online life insurance rates from top rated companies. Find your best insurance company and lowest rate. Then get an affordable life insurance quote, whole or term, to protect your family. Budgetlife is committed to referring you to top rated life insurance companies.

About Budget Life

Term life insurance rates have been dropping steadily in response to increased competition. Term life insurance is a commodity, and improved access to online life insurance quotes information, such as at this Web site, is making it even more so. Whether to use life insurance as an investment is a separate decision; but for the lowest life insurance cost, which is term insurance, why pay more than you have to?

Term life insurance quotes are commodities, so be sure to get the best term life insurance rate. Some can also provide life insurance underwriting for impaired risk life insurance. To evaluate all of your underwriting factors, contact us about life insurance quoting software.

About Life Insurance

Don't skimp on life insurance. But remember that people with no dependents may not need life insurance policies at all. To estimate the amount of a life insurance policy, use our life insurance calculator. Most life insurance consultants estimate five to ten times your annual income.Smoker life insurance costs two to three times as much as non-smoker.

Make sure your policy has an option for accelerated death benefits.This option will enable you to access your life insurance policy if you contract a terminal illness.

Public Law 111-275 Improves VA Insurance Programs

Public Law 111-275 Improves VA Insurance Programs

  • Extends traumatic injury coverage to service members injured between Oct. 7, 2001 and November 30, 2005, regardless of where their injury occurred

  • Allows Veterans’ Group Life Insurance policyholders to purchase additional coverage on each 5-year anniversary of their coverage

  • Increases VMLI coverage from $150,000 to $200,000 effective Oct. 1, 2011

    more about P.L. 111-275

6/20/2011

Retirement Services

Retirement Services

AIA has offered quality provident fund management services for corporate clients in Thailand since 1996, with strong support from its affiliate AIA Pension and Trustee Co., Ltd. (AIAPT). AIAPT specializes in trustee and retirement services, and provides various pension products, trustee and administration services in Hong Kong.

Provident Fund Management Service

  1. Provident Fund Balance Inquiry
  2. Asia Benefit Insight – Quarterly e-Newsletter

AIA Thailand’s Corporate Solutions - Pension Department has been in operation since January 1997 after obtaining the requisite license from the Ministry of Finance to provide Provident Fund management services. The Pensions Department provides comprehensive provident fund management services to corporate clients ranging from large multi-national and domestic corporations to small and medium-sized companies.

The total pension assets under management (AUM), as of 31 December 2010, exceed 18 billion baht, covering more than 750 employers and more than 103,000 members.

About Corporate Solutions of the AIA Group

Corporate Solutions (CS) is a division of the AIA Group. CS provides employee benefits, credit life and pension services to corporate clients in Asia, which range from small and medium sized local enterprises to multinational companies. CS’ teams of specialists in each country are well trained to deliver top quality services and benefits solutions to customers. CS also provides insurance solutions to banks, financial institutions and other groups to cover their customers' or members' needs.

*The range of products and services available in each jurisdiction may vary. Products and services may be offered by various companies within the AIA group.

6/19/2011

Auto Insurance Quote

The Market - 4 Million We are the official 100% Compensation site that provides solutions to the UK market for personal injury litigation. For each successful applicants you are paid $85, plus $25 for sub-affiliates referrals. We are the ONLY company with an affiliate program for Internet users in it's industry, so take advantage. No other company has one!

Symetra to Acquire Renewal Rights for American United Life Medical Stop-Loss Policies

PRESS RELEASE

June 17, 2011, 2:15 p.m. EDT

Symetra to Acquire Renewal Rights for American United Life Medical Stop-Loss Policies

$26 Million Deal Supports Symetra's Capital Deployment Strategy

BELLEVUE, Wash., Jun 17, 2011 (BUSINESS WIRE) -- Symetra Life Insurance Company today announced a definitive agreement to acquire the renewal rights for medical stop-loss insurance policies issued by American United Life Insurance Company (AUL) through its R.E. Moulton, Inc. (REM) underwriting affiliate. The cash deal, valued at $26 million, is expected to close on July 1, 2011 and be accretive to 2011 adjusted operating income by approximately $0.01 per share.

The agreement centers on renewal rights for AUL stop-loss policies representing approximately $120 million in premium. Symetra's medical stop-loss premiums for the 12 months ended March 31, 2011 totaled $386 million.

"This acquisition supports our capital deployment strategy and demonstrates Symetra's commitment to invest in smart growth opportunities," said Tom Marra, Symetra president and chief executive officer. "It is a straightforward transaction that will strengthen a core business line by increasing our stop-loss premiums and expanding our customer base. Over time, we expect to achieve greater economies of scale and operating efficiencies in our stop-loss business."

"Our growth strategy requires us to intensify our focus on our core businesses of life insurance, retirement and employee benefits," said Dayton H. Molendorp, chairman, president and CEO of OneAmerica, the parent company of AUL and R.E. Moulton. "Exiting the stop-loss business is the right move for us, and we're pleased that customers will continue to be in good hands with a high-quality company like Symetra."

To minimize customer disruption, employees at REM will continue to run current stop-loss operations through Jan. 31, 2012 at Symetra's direction under a transition services arrangement. Symetra expects to extend employment offers to select REM employees during this period. On Feb. 1, 2012, Symetra employees will assume responsibility for administering AUL stop-loss policies that have not yet reached their renewal date.

"The acquisition solidifies our leadership position in the medical stop-loss insurance market and builds on what we do best," said Michael Fry, executive vice president of Symetra's Group Division. "Through our due diligence work, we have been impressed with the quality of AUL's stop-loss business and disciplined underwriting approach. We're excited to work with distribution partners to transition AUL customers to Symetra. We look forward to welcoming these new customers to our company."

Medical stop-loss insurance protects employers that self-fund their group health insurance plans against large or potentially catastrophic claims, thereby reducing their overall risk exposure. A stop-loss industry pioneer, Symetra is celebrating its 35th consecutive year in the business.

About OneAmerica

OneAmerica Financial Partners, Inc., is headquartered in Indianapolis, IN. The companies of OneAmerica(R) can trace their solid foundations back more than 130 years in the insurance and financial services marketplace. Focusing on retirement services, life insurance and employee benefit plan products, we deliver on our promises when customers need us most. For more, visit www.oneamerica.com .

About Symetra

Symetra Life Insurance Company is a subsidiary of Symetra Financial CorporationSYA +0.23% , a diversified financial services company based in Bellevue, Wash. In business since 1957, Symetra provides employee benefits, annuities and life insurance through a national network of benefit consultants, financial institutions, and independent agents and advisors. For more information, visit www.symetra.com .

Safe Harbor Statement

In this press release, all statements that are not purely about historical facts, including, but not limited to, those in which we use the words "will," "believe," "anticipate," "expect," "plan," "want," "intend," "estimate," "potential" and similar expressions, are forward-looking statements within the meaning of the Private Securities Litigation Reform Act of 1995. Forward-looking statements give expectations or forecasts of future events. In particular, these include statements relating to future actions, prospective services or products, future performance or results of current and anticipated services or products, sales efforts, expenses, and trends in operations and financial results.

Any or all forward-looking statements may turn out to be wrong. They can be affected by inaccurate assumptions or by known or unknown risks and uncertainties. Many such factors will be important in determining Symetra's actual future results. Consequently, no forward-looking statement can be guaranteed, and forward-looking statements may be adversely affected by factors, including general market conditions and competitive product development. Risks, uncertainties and other factors that might cause such differences include the risks, uncertainties and other factors identified in Symetra's filings with the U.S. Securities and Exchange Commission.

Symetra does not undertake any obligation to publicly correct or update any forward-looking statement if Symetra later becomes aware that such statement is not likely to be achieved.

SOURCE: Symetra Financial Corporation

Bancassurance

ข่าวเศรษฐกิจ ธนาคารแห่งประเทศไทย -- พฤหัสบดีที่ 16 มิถุนายน 2554 13:49:32 น.
นางสาวสุวรรณี เจษฎาศักดิ์
ผู้บริหารทีม
ฝ่ายกลยุทธ์สถาบันการเงิน

สวัสดีค่ะท่านผู้อ่าน จากบทความที่ผู้เขียนได้เขียนไปในครั้งที่แล้ว ได้เล่าเกี่ยวกับผลิตภณั ฑ์การออมเงินในด้านต่างๆ ซึ่งสิ่งที่พูดถึงเป็นหัวข้อหลักก็คือผลิตภัณฑ์ด้านเงินฝาก และการทำประกันชีวิต ที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นในระยะหลังๆ ซึ่งจากข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ซึ่งเป็นหน่วยงานอิสระที่ทำหน้าที่กำกับดูแลกิจการประกันภัย พบว่าในช่วง 10 ปี (พ.ศ.2542-2552) ที่ผ่านมาอุสาหกรรมประกันภัยของไทยมีอัตราการขยายตัวของเบี้ยประกันภัยรับถึงร้อยละ 196.26 หรือเป็นอัตราเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 12.07 ต่อปี และมีสัดส่วนเบี้ยประกันภัยรับโดยตรงต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Insurance Penetrations) เพิ่มจากระดับร้อยละ 2.6 ในปี 2542 เป็นร้อยละ 4.07 ในปี 2552

การขยายตัวของธุรกิจประกันภัยข้างต้นนั้น เห็นว่าปัจจัยสำคัญประการหนึ่ง ก็น่าจะมาจากนโยบายของทางการที่สนับสนุนการทำประกันโดยเฉพาะการทำประกันชีวิตที่อนุญาตให้ผู้ซื้อประกันชีวิตสามารถนำเงินที่จ่ายเป็นค่าเบี้ยประกันมาหักลดหย่อนในการคำนณภาษีได้

ปัจจัยสำคัญอีกประการหนึ่งน่าจะมาจากการพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่าย โดยเฉพาะช่องทางการขายผ่านธนาคารพาณิชย์ หรือที่เรียกว่า Bancassurance ซึ่งได้รับความนิยมมากเมื่อเทียบกับช่องทางการขายอื่นที่มีมานานกว่า แต่กลับไม่ได้รับความนิยม เช่น การขายผ่านไปรษณีย์ และการขายผ่านโทรศัพท์ (Tele Marketing) เป็นต้น อย่างไรก็ดี ช่องทางการขายผ่านตัวแทนประกันชีวิต (agents) ก็ยังคงมีบทบาทอยู่มากเช่นกัน

คำว่า “Bancassurance” นั้น มีที่มาจากคำว่า “Bank Insurance Model” ซึ่งเป็นชื่อเรียกของรูปแบบการขายประกันชีวิตผ่านธนาคารพาณิชย โดยธนาคารพาณิชย์ทำหน้าที่เป็นนายหน้าขายประกันให้กับบริษัทประกันต่างๆ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ให้ธนาคารพาณิชย์ทำธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัยได้เพิ่มขึ้น ได้แก่ การให้บริการแนะนำ เผยแพร่แผ่นพับโฆษณาของบริษัทประกันภัย รวมถึงการเป็นนายหน้าประกันภัย ซึ่งการเป็นนายหน้าประกันภัยนี้ธนาคารพาณิชย์ก็จะต้องได้รับใบอนญาตจากสำนักงาน คปภ. ก่อนเช่นกัน รวมทั้ง ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่สำนักงานคปภ. และ ธปท. กำหนด

การทำ Bancassurance นี้ มีตัวเลขการเติบโตสูงมากทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ โดยบริษัทประกันสามารถใช้เครือข่ายสาขาของธนาคารพาณิชยท์ กระจายอยู่ทั่วไปเทศ รวมทั้งขยายฐานลูกค้าไปยังฐานลูกค้าของธนาคารพาณิชย์ได้อีกด้วยเช่นกัน ซึ่งบริการในลักษณะนี้ทั้ง ไม่ใช่เพียงบริษัทประกันเท่านั้นที่ได้รับประโยชน์ในการขยายธุรกิจดังกล่าวข้างต้น แต่ธนาคารพาณิชย์ และลูกค้า ต่างก็ได้รับประโยชน์ด้วยเช่นกัน โดยบริษัทประกันก็จะจ่ายค่าธรรมเนียมให้กับธนาคารพาณิชย์ในการให้บริการดังกล่าว สำหรับลูกค้าก็มีโอกาสเลือกซื้อประกันได้สะดวกยิ่งขึ้น

อย่างไรก็ดี ในการซื้อประกันซึ่งปัจจุบันมีรูปแบบที่หลากหลายให้ผู้บริโภคได้เลือกนี้ ผู้บริโภคก็ต้องศึกษาเงื่อนไขของกรมธรรม์ แผนการใช้เงินของตัวท่านเอง รวมทั้งเปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนที่จะได้รับให้ดี โดยจะต้องพิจารณาว่าลัษณะการออมที่ท่านเลือกนี้เป็นการฝากเงินหรือการซื้อกรรมธรรม์ประกันชีวิตซึ่งหากเป็นการประกันชีวิตก็จะไม่ได้รับการคุ้มครองเงินฝากจากสถาบันคุ้มครองเงินฝาก และธนาคารพาณิชย์เป็นเพียงนายหน้าขายประกันให้กับบริษัทประกันเท่านั้น


http://www.ryt9.com/s/bot/1172330

insurefordream

  1. ประกันสุขภาพวันละ 10 บาท

    เจ็บป่วย คุ้มครองถึง 6 แสนบาทต่อโรค
    ใครก็ทำได้แค่วันละ 10 บาทกับ BUPA..
    www.bupa.co.th/Health-Insurance
  2. ประกันสุขภาพ วันละ 20 บาท

    ไม่ต้องตรวจสุขภาพ
    เบิกได้ทุกโรงพยาบาลไม่ต้องสำรองจ่าย
    www.assuranceok.com
  3. เทสโก้โบรคเกอร์ ประกันภัย

    ประกันภัยรถชั้น1 ราคาสุดคุ้ม
    เช็คเบี้ยผ่าน Web รับส่วนลดทันที
    www.tescobroker.com
  4. ประกันภัยถูกๆไม่แคร์สื่ิอ

    โอกาสเดียวเท่านั้น ทำก่อนได้ก่อน
    ราคาถูก กันเอง คุยง่าย ผ่อนชำระได้
    www.my-insure.com
  5. สมัครตัวแทน ทำประกันชีวิต

    ต้องการหารายได้พิเศษที่มั่นคง
    ตัวแทนคุณภาพ 08-9814-9510
    cyber.thailife.com/98768800/

6/09/2011

หลักการ การกำกับดูแลการเสนอขายกรมธรรม์ Unit Link

หลักการ
การกำกับดูแลการเสนอขายกรมธรรม์ Unit Link

ในระยะที่ผ่านมามีบริษัทประกันชีวิตหลายแห่งประสงค์ที่จะออกกรมธรรม์ประกันชีวิตควบการ
ลงทุน (Unit-linked Life Insurance Policy : "กรมธรรม์ unit link")
โดยกรมธรรม์ดังกล่าวมีลักษณะพิเศษ คือ
เบี้ยประกันที่บริษัทประกันชีวิตเรียกเก็บจากผู้เอาประกันภัยจะถูกแบ่งออกเป็น
2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นค่าเบี้ยประกัน
สำหรับการให้ความคุ้มครองต่อการมรณะและเงื่อนไขการจ่ายเงินเมื่อมีการทรงชีพ
และส่วนที่ 2 เป็นส่วนเงินลงทุน
ที่จะนำไปลงทุนในกองทุนรวมที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์และข้อจำกัดการลงทุนของผู้เอาประกันภัย
โดยบริษัท
ที่รับจัดการเงินดังกล่าวจะออกหน่วยลงทุนให้แก่ผู้เอาประกันภัย
เงินลงทุนส่วนนี้จึงไม่รับประกันผลตอบแทน

เนื่องจากบริษัทประกันชีวิตมีตัวแทนประกันชีวิตที่ได้รับความเห็นชอบจากกรมการประกันภัยเป็นเครือข่ายในการเข้าถึงผู้ลงทุนในวงกว้าง
หากสนับสนุนให้มีการออกและเสนอขายสินค้าและบริการผ่านตัวแทนขายประกันชีวิตเหล่านี้ก็จะส่งผลดีต่อการขยายจำนวนผู้ลงทุนซึ่งก่อให้เกิดโครงสร้างตลาดทุนที่ดี
ประกอบกับปัจจุบันกรมธรรม์ประเภทที่มีลักษณะใกล้เคียงกับ investment
product ได้รับความนิยมค่อนข้างมาก เช่น
กรมธรรม์ประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ ซึ่งกรมธรรม์ unit link
จะช่วยเพิ่มรูปแบบกรมธรรม์ให้ผู้เอาประกันภัยและบริษัทประกันชีวิต
มากขึ้น ดังนั้น สำนักงาน ก.ล.ต.
และกรมการประกันภัยจึงเห็นควรสนับสนุนให้บริษัทประกันชีวิตสามารถออกกรมธรรม์
unit link ดังกล่าวได้ โดยการบริหารจัดการส่วนการลงทุนเข้าข่ายเป็น
"การจัดการกองทุนรวม" ภายใต้
พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
และผู้ทำหน้าที่จัดการส่วนการลงทุนของกรมธรรม์ unit link
จะต้องเป็นผู้ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการกองทุนรวม
ซึ่งสำนักงานจะเป็นผู้กำกับดูแล
ในขณะที่กรมการประกันภัยจะเป็นผู้กำกับดูแลส่วนที่เกี่ยวกับกรมธรรม์ประกันชีวิตและบริษัทประกันชีวิตตามปกติ

ด้วยลักษณะที่กรมธรรม์ unit link
มีส่วนของการลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุนรวมผูกติดอยู่กับกรมธรรม์ประกันชีวิต
เมื่อครบอายุการทำกรมธรรม์ unit link หรือสัญญาการทำกรมธรรม์ unit link
ถูกยกเลิกก่อนครบอายุ ผู้เอาประกันภัยจะได้รับเงินคืนในจำนวนที่ไม่แน่นอน
จำนวนเงินที่ได้รับคืนจะขึ้นอยู่กับผลการดำเนินงานของกองทุนรวม
ผู้เอาประกันภัยของกรมธรรม์ unit link
จึงเป็นผู้รับความเสี่ยงในเรื่องความไม่แน่นอนของ
ผลตอบแทนจากส่วนของการลงทุน แทนความคุ้นเคยกับลักษณะเดิม ๆ
ของกรมธรรม์ทั่วไปที่บริษัทประกันชีวิต
เป็นผู้รับประกันจำนวนเงินบางส่วนที่ผู้เอาประกันจะได้รับคืนเมื่อครบกำหนดระยะเวลา
นอกจากนั้น ผู้เกี่ยวข้อง
หลักของกรมธรรม์ unit link มี 2 ฝ่ายคือ บริษัทประกันชีวิต
และบริษัทจัดการ ทำให้ลักษณะของกรมธรรม์ unit link
ค่อนข้างซับซ้อนและแตกต่างกับกรมธรรม์ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ด้วยเงื่อนไข
หรือวิธีการในแบบประกันที่แตกต่างกัน
ออกไป ดังนั้น เพื่อให้การเสนอขายกรมธรรม์ unit link เป็นไปอย่างเหมาะสม
และเพื่อเป็นการป้องกันปัญหาที่อาจ
เกิดขึ้นจากความไม่เข้าใจที่ดีพอของผู้เอาประกันภัยในอนาคต
การกำกับดูแลตัวแทนขายกรมธรรม์ unit link จะมี
มาตรฐานคล้ายกับการกำกับดูแลตัวแทนขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวม
ทั้งในเรื่องการอบรมและการสอบขึ้นทะเบียนของตัวแทนขาย
รวมทั้งการกำหนดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับมาตรฐานในการให้คำแนะนำและการปฏิบัติงาน
(code of conduct)
โดยมีบางส่วนที่เพิ่มเติมขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของกรมธรรม์
unit link ซึ่งกรมการประกันภัยจะเป็นผู้ทำหน้าที่กำกับดูแลตัวแทนขายกรมธรรม์
unit link ต่อไป
รายละเอียดเกี่ยวกับการกำกับดูแลการเสนอขายกรมธรรม์ unit link มีดังต่อไปนี้

1. การให้ความเห็นชอบตัวแทนขายกรมธรรม์ Unit Link

จากการที่กรมธรรม์ unit link
ประกอบด้วยส่วนของกรมธรรม์ประกันชีวิตและหน่วยลงทุนของ
กองทุนรวม ซึ่งมีส่วนที่จะได้รับเงินคืนแน่นอนเมื่อเสียชีวิตหรือเมื่อมีการทรงชีพครบตามเงื่อนไข
และส่วนของ
ผลตอบแทนที่มีความไม่แน่นอนจากการลงทุนในหน่วยลงทุน กรมธรรม์ unit link
จึงถือเป็นเครื่องมือทางการเงิน
ที่แตกต่างจากกรมธรรม์ประกันชีวิตตามปกติและหน่วยลงทุนของกองทุนรวมทั่วไป
ดังนั้น หลักเกณฑ์ที่จะกำกับดูแลผู้ขายกรมธรรม์ unit link
จึงมีส่วนที่แตกต่างจากการกำกับดูแลตัวแทนขายประกันชีวิตที่ขึ้นทะเบียนกับกรมการประกันภัย
และการกำกับดูแลผู้ขายหน่วยลงทุนตามปกติที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน
ก.ล.ต. ซึ่งกรมการประกันภัยจะเป็นผู้ทำหน้าที่กำกับดูแลผู้ขายกรมธรรม์
unit link
จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผู้ที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน ก.ล.ต.
เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ขาย
หน่วยลงทุนของกองทุนรวมแล้ว และมีความประสงค์ที่จะขายกรมธรรม์ unit link
ด้วย จะต้องขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้ขายกรมธรรม์ unit link
กับกรมการประกันภัย ในทางกลับกัน
ผู้ที่ขึ้นทะเบียนเพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ขายกรมธรรม์ unit link
กับกรมการประกันภัยแล้ว
และมีความประสงค์ที่จะขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมปกติก็จะต้องได้รับความ
เห็นชอบเป็นผู้ขายหน่วยลงทุนจากสำนักงาน ก.ล.ต. ด้วยเช่นกัน

1.1 ผู้ที่จะทำหน้าที่เป็นผู้ขายกรมธรรม์ unit link ได้ ประกอบด้วย
พนักงานของบริษัทประกันชีวิต หรือ
ตัวแทนขายประกันชีวิต หรือพนักงานของบริษัทจัดการ
ที่ได้รับความเห็นชอบหรือขึ้นทะเบียนจาก
กรมการประกันภัย
1.2 บริษัทประกันชีวิตที่จะขายกรมธรรม์ unit link ได้
(ในฐานะตัวแทนสนับสนุนการขายหน่วยลงทุนของ
บริษัทจัดการ) จะต้องได้รับความเห็นชอบหรือขึ้นทะเบียนจากกรมการประกันภัยด้วย
1.3 ผู้ขายกรมธรรม์ unit link ต้องได้รับความเห็นชอบหรือขึ้นทะเบียนเป็น
"ผู้ทำหน้าที่ขายกรมธรรม์ unit link"
จากกรมการประกันภัย
ซึ่งคุณสมบัติส่วนหนึ่งของผู้ที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ทำหน้าที่ขายกรมธรรม์
unit link นี้
จะต้องผ่านการทดสอบความรู้เทียบเท่ากับบุคคลที่ได้รับความเห็นชอบเป็นผู้ขายหน่วยลงทุนระดับ
1 (IP)
ของสำนักงาน ก.ล.ต. เนื่องจากกรมธรรม์ unit link เป็นเรื่องค่อนข้างใหม่
ทำให้ผู้เสนอขายกรมธรรม์ unit link
ในระยะเริ่มแรกควรต้องเป็นผู้ที่มีความเข้าใจค่อนข้างดีเกี่ยวกับการประกันชีวิตและการลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุนรวม
ประกอบกับการเสนอขายกรมธรรม์โดยปกติจะต้องให้คำแนะนำที่พิจารณาจากวัตถุประสงค์
ฐานะการเงิน และสุขภาพของผู้เอาประกันภัยแต่ละรายเป็นสำคัญ ดังนั้น
ผู้ขายกรมธรรม์ unit link จึงต้องให้
คำแนะนำที่สอดคล้องกับความต้องการและความเหมาะสมของลูกค้าแต่ละราย
ซึ่งเป็นขอบเขตหน้าที่ที่จะกระทำได้โดยบุคคลที่มีคุณสมบัติที่ได้รับความเห็นชอบเป็นผู้ขายหน่วยลงทุนระดับ
1
1.4 ตัวแทนขายประกันชีวิตที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ขาย Unit Link
กับกรมการประกันภัยแล้ว หากต้องการขาย
หน่วยลงทุนทั่วไปจะต้องขอรับความเห็นชอบเป็นผู้ขายหน่วยลงทุนกับสำนักงานอีกครั้ง
โดยกำหนดให้สามารถแสดงความจำนงผ่านทางกรมการประกันภัย
ซึ่งจะส่งผ่านข้อมูลให้กับสำนักงาน

2. ตัวแทนช่วง


- เฉพาะในการขายกรมธรรม์ Unit Link
ตัวแทนสนับสนุนสามารถตั้งตัวแทนสนับสนุนช่วงได้ โดย
ตัวแทนสนับสนุนช่วงที่ได้รับการแต่งตั้งจะเป็นได้เฉพาะบุคคลธรรมดาที่ขึ้นทะเบียนแล้วกับ
กรมการประกันภัย
- บริษัทประกันชีวิตที่ได้รับความเห็นชอบจากกรมการประกันภัยเท่านั้นที่จะสามารถตั้งตัวแทนสนับสนุนช่วงได้
- บริษัทประกันชีวิตต้องทำสัญญาแต่งตั้งตัวแทนสนับสนุนช่วงเป็นหนังสือโดยกำหนดสิทธิและหน้าที่ที่
ไม่ขัดหรือแย้งกับประกาศ
และมีข้อสัญญาที่กำหนดให้ตัวแทนสนับสนุนช่วงต้องปฏิบัติตามข้อกำหนด
ในประกาศ
- บริษัทประกันชีวิตต้องดูแลให้ตัวแทนสนับสนุนช่วงปฏิบัติตามข้อสัญญาและข้อกำหนดในประกาศด้วย

3. หน้าที่และมาตรฐาน ในการขายกรมธรรม์ Unit Link

3.1 ขอบเขตของบุคคลผู้ทำหน้าที่ขายและการให้คำแนะที่เหมาะสมกับลูกค้า
1. ในการติดต่อเพื่อเสนอขาย ชักชวน ให้คำแนะนำหรือให้ข้อมูลทั่วไป
และรับคำสั่งจากลูกค้า
ต้องกระทำโดย IP
2. ในการเสนอขาย ผู้ขายกรมธรรม์ unit link
ต้องทำความรู้จักลูกค้าก่อนให้คำแนะนำ
หรือต้องให้คำแนะนำที่เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละรายโดยมีข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าอย่างเพียงพอเพื่อประกอบการให้คำแนะนำ
3. ในการสั่งซื้อหน่วยลงทุนในแต่ละครั้งตามเงื่อนไขในกรมธรรม์
หากลูกค้ามีความประสงค์จะเปลี่ยนแปลงการลงทุนในกองทุนที่เคยทำสัญญาไว้
ตัวแทนต้องให้คำแนะนำที่เหมาะสมกับลูกค้าโดยปรับปรุงข้อมูลของลูกค้าให้เป็นปัจจุบันก่อนทุกครั้ง
4. การปรับปรุงข้อมูลของลูกค้าให้เป็นปัจจุบันจะเป็นไปตามแนวทางที่กำหนด

3.2 เอกสารที่ใช้ในการขาย และการเปิดเผยคำเตือน
1. เปิดเผยคำเตือน ดังต่อไปนี้
เพื่อให้ลูกค้าตระหนักถึงความแตกต่างของการทำกรมธรรม์ทั่วไป กับกรมธรรม์
unit link
(1) คำเตือนเกี่ยวกับความเสี่ยงของการทำกรมธรรม์ unit link
"การทำกรมธรรม์ unit link มีความเสี่ยง
ผู้เอาประกันภัยอาจได้รับเงินคืนมากกว่าหรือน้อยกว่ามูลค่าเบี้ยประกันส่วนที่จัดสรรเข้ากองทุนรวม"
(2) คำเตือนเกี่ยวกับความเสี่ยงของการลงทุนในหน่วยลงทุน
(3) คำเตือนเกี่ยวกับความเสี่ยงในการลงทุนของกองทุนรวมนั้น
(4) คำเตือนเกี่ยวกับสถานะของกองทุนรวมว่าเป็นนิติบุคคลแยกต่างหากจากบริษัทประกันชีวิตและบริษัทจัดการ
ซึ่งผลการดำเนินงานของกองทุนรวมควบกรมธรรม์ไม่ได้ขึ้นอยู่กับฐานะทางการเงินหรือผลการดำเนินงานของบริษัทประกันชีวิตและบริษัทจัดการ
(5) คำเตือนในกรณีที่ผู้เอาประกันภัยปฏิเสธการให้ข้อมูลส่วนตัวหรือการให้ข้อมูลส่วนตัวที่ไม่เป็นปัจจุบัน
หรือไม่ครบถ้วน ผู้เอาประกันภัยอาจได้รับคำแนะนำที่ไม่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
ฐานะทางการเงิน หรือความต้องการของผู้เอาประกันภัย
เนื่องจากคำแนะนำที่ให้นั้นได้พิจารณา
จากข้อมูลเพียงเท่าที่ผู้เอาประกันภัยเปิดเผยให้ทราบ
- คำเตือน ในข้อ 3(1) ต้องเปิดเผยในใบคำสั่งซื้อ (ที่ลูกค้าลงนาม)
โดยมีขนาดตัวอักษรไม่เล็กกว่า
ตัวอักษรปกติและมีสีที่เน้นหรือเด่นกว่าจากอักษรปกติ

2. แจกหนังสือชี้ชวนส่วนสรุปข้อมูลสำคัญที่ผู้เอาประกันภัยควรทราบ
พร้อมกับใบจองซื้อหรือใบคำสั่งซื้อ
3. ต้องจัดให้มีและแจกคู่มือผู้เอาประกันภัย
หรือเอกสารอื่นใดที่ใช้ในการขายกรมธรรม์
ซึ่งต้องใช้ภาษาที่ง่ายต่อการทำความเข้าใจ (รายละเอียดข้อมูล ภาคผนวก ก.)

3.3 การขายและการให้คำแนะนำเพื่อการขาย
1. ในการเสนอขายกรมธรรม์ unit link ทุกครั้ง
(1) เปิดเผยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้
เว้นแต่ผู้เอาประกันภัยแสดงเจตนาว่าต้องการจบการสนทนา
ก) ชื่อผู้ติดต่อ และชื่อของบริษัทประกันชีวิตที่ตนทำหน้าที่แทน พร้อมทั้งแสดงบัตร
ประจำตัวซึ่งจะต้องเป็นบัตรที่กรมการประกันภัยออกให้
ข) วัตถุประสงค์ในการติดต่อ
ค) สิทธิของผู้เอาประกันภัยที่จะแสดงเจตนาว่าไม่ต้องการรับการติดต่อ
ง) สิทธิของผู้เอาประกันภัยที่จะยกเลิกกรมธรรม์ ภายในระยะเวลาที่กำหนด
(2) ห้ามมิให้ตัวแทนเร่งรัดให้ผู้เอาประกันภัยตัดสินใจซื้อกรมธรรม์
และหากผู้เอาประกันภัยได้แสดง
เจตนาว่าไม่ต้องการซื้อกรมธรรม์หรือต้องการจบการสนทนา ให้หยุดการเสนอขายทันที
(3) ห้ามมิให้ติดต่อกับผู้เอาประกันภัยที่มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อของผู้เอาประกันภัยที่ไม่ต้องการรับ
การติดต่อ ภายในระยะเวลา 2 ปี
(4) บริษัทจัดการต้องให้สิทธิผู้เอาประกันภัย ถอนการแสดงเจตนาได้
ภายในระยะเวลา ดังนี้
ก) กองทุนที่อยู่ในช่วง IPO :
ผู้เอาประกันภัยมีสิทธิยกเลิกคำสั่งซื้อหน่วยลงทุนได้ ภายใน
ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 2 วันทำการนับแต่วันที่ระบุในใบจองซื้อ
โดยได้รับเงินคืนเต็มจำนวนและไม่เสียค่าธรรมเนียมการซื้อหน่วยลงทุนหรือค่าใช้จ่ายใด

ข) กองทุนที่อยู่หลัง IPO :
ผู้เอาประกันภัยมีสิทธิยกเลิกคำสั่งซื้อหน่วยลงทุนได้ ภายใน
ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 2 วันทำการนับแต่วันที่ระบุในใบคำสั่งซื้อ
โดยได้รับคืนตามราคา NAV ณ
วันทำการรับซื้อคืนวันแรกถัดจากวันแสดงเจตนาขายคืนหน่วยลงทุน และ
ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมการซื้อหน่วยลงทุน
(5) ห้ามมิให้ตัวแทนเรียกเก็บหรือรับค่าธรรมเนียมหรือค่าตอบแทนจากผู้เอาประกันภัยนอกเหนือจากที่ผู้เอาประกันภัยมีหน้าที่ต้องชำระตามที่กรมธรรม์หรือหนังสือชี้ชวนของกองทุนรวมกำหนด
2. ให้ปฏิบัติตามมาตรฐานในการให้คำแนะนำ (รายละเอียดข้อมูล ภาคผนวก ข.)
3. กรณีเป็นการบริการซื้อขายผ่านการบริการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้ปฏิบัติเป็นไปตามประกาศว่าด้วย
หลักเกณฑ์ และวิธีการในการขายหรือรับซื้อคืนหน่วยลงทุนผ่านการบริการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

4. การควบคุม

- ให้บริษัทประกันชีวิตจัดทำคู่มือสำหรับตัวแทนขายประกันกรมธรรม์ unit
link เพื่อให้พนักงานและ
ตัวแทนทราบว่าต้องปฏิบัติอย่างไรในการเสนอขายกรมธรรม์ unit link
และต้องดูแลให้พนักงานและ
ตัวแทนปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
- บริษัทประกันชีวิตที่ได้รับความเห็นชอบ ต้องจัดทำรายงาน
การเริ่มหยุดการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ขายกรมธรรม์
และการแต่งตั้งหรือยกเลิกตัวแทนสนับสนุนช่วง ให้กรมการประกันภัยทราบ
- ตัวแทนสนับสนุนการขายกรมธรรม์ unit link
ต้องจัดให้มีระบบรับเรื่องร้องเรียนและดำเนินการ ดังนี้
1. กรณีที่เป็นการร้องเรียนด้วยวาจา
ให้จัดทำบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรและให้ผู้เอาประกันภัย
ลงนามเพื่อรับรองความถูกต้องก่อนตัวแทนสนับสนุนจะดำเนินการแก้ปัญหา
2. ดำเนินการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนโดยเร็ว
3. แจ้งข้อร้องเรียนให้บริษัทจัดการทราบภายใน 7 วันนับแต่วันที่ได้รับข้อร้องเรียน
4. เมื่อมีข้อยุติให้แจ้งลูกค้าทราบภายใน 7 วันนับแต่วันที่มีข้อยุติ
5. เมื่อมีข้อยุติ ให้แจ้งผลการดำเนินการที่สามารถแก้ไข
หรือไม่สามารถแก้ไขปัญหา ให้เป็นที่พอใจ
ของผู้ร้องเรียนแก่บริษัทจัดการ เพื่อดำเนินการต่อภายใน 7 วันนับแต่วันที่มีข้อยุติ
6. สรุปจำนวนข้อร้องเรียนที่สามารถแก้ไขและไม่สามารถแก้ไข
เป็นหมวดหมู่ของข้อร้องเรียนและ

แจ้งให้กรมการประกันภัยทราบเป็นรายไตรมาสภายใน 15
วันนับแต่วันสิ้นไตรมาสนั้น
7. จัดเก็บเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องและการดำเนินการไม่น้อยกว่า 2
ปีนับแต่วันที่มีข้อยุติ

5. ขอบเขตการทำหน้าที่ของบริษัทประกันชีวิต และความรับผิดชอบของบริษัทจัดการ

ในการเสนอขายกรมธรรม์ unit link
บริษัทประกันชีวิตเป็นตัวแทนของบริษัทจัดการตามมาตรา 100
เพื่อรับคำสั่งซื้อหรือขายหน่วยลงทุนจากผู้เอาประกันภัยส่งให้บริษัทจัดการ
หากบริษัทประกันชีวิตไม่ประสงค์ที่จะเปิดเผยชื่อผู้เอาประกันภัยให้บริษัทจัดการทราบ
บริษัทประกันชีวิตอาจใช้รหัสแทนชื่อจริงของผู้เอาประกันภัยแต่ละรายได้
เช่น การใช้ชื่อผู้ถือหน่วยลงทุน ว่า "ผู้เอาประกันภัยกรมธรรม์ unit link
เลขที่ 001" แทนชื่อ "นาย ก" เป็นต้น อย่างไรก็ดี
บริษัทประกันชีวิตไม่สามารถกระทำการใด ๆ
ในฐานะตัวแทนของผู้เอาประกันภัยได้
และหากบริษัทประกันชีวิตจะใช้รหัสแทนชื่อจริงของผู้เอาประกันภัยกับบริษัทจัดการ
บริษัทประกันชีวิตจะต้องมีระบบความพร้อม
ที่เพิ่มมากขึ้นกว่าการทำหน้าที่เป็นตัวแทนสนับสนุนการขายหน่วยลงทุนตามปกติ
เช่น ระบบการจัดทำบัญชี
ผู้ถือหน่วยลงทุนที่แท้จริง ระบบรองรับการออกมติของผู้เอาประกันภัย
ระบบการนำส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการ
จัดการกองทุนให้ผู้เอาประกันภัย เป็นต้น
ลักษณะของการเปิดบัญชี
หรือการส่งคำสั่งซื้อ/ขายหน่วยลงทุนของบริษัทประกันชีวิตถึง
บริษัทจัดการจะต้องทำแยกเป็นรายผู้เอาประกันภัย (แยกแต่ละรหัส)
ไม่สามารถรวมคำสั่งซื้อหรือขายเป็น 1 คำสั่งได้
และการสั่งซื้อหน่วยลงทุนในแต่ละปีหรือแต่ละครั้งของการจ่ายเบี้ยของผู้เอาประกันภัย
จะเป็นไปตามคำสั่งซื้อ
ที่ผู้เอาประกันภัยมีคำสั่งไว้ตามข้อกำหนดในสัญญากรมธรรม์ unit link
ทั้งนี้ บริษัทจัดการยังคงต้องรับผิดชอบต่อการทำหน้าที่ของบริษัทประกันชีวิตในฐานะตัวแทน
ของบริษัทจัดการ เช่น กรณีเกิดเหตุเสียหายกับผู้เอาประกันภัย
หรือจำนวนหน่วยลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยได้รับ
ไม่ถูกต้อง ดังนั้น
การทำสัญญาระหว่างบริษัทจัดการกับบริษัทประกันชีวิตอาจต้องมีความรอบคอบมากขึ้น
โดยเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับการรับมอบอำนาจทั่วไปที่ยังไม่ครอบคลุมการมอบอำนาจในบางเรื่อง

6. การให้ความเห็นชอบผู้ทำหน้าที่ขายหรือรับซื้อคืนกรมธรรม์ unit link
หรือเป็นตัวแทนสนับสนุน
6.1 มีคุณสมบัติ
บุคคลธรรมดา: วุฒิการศึกษาตั้งแต่ปริญญาตรี
หรือประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 2 ปี และผ่านการทดสอบตาม
หลักสูตรที่สำนักงาน ก.ล.ต. หรือกรมการประกันภัยให้ความเห็นชอบ -
ซึ่งในเบื้องต้นจะต้องเป็นผู้ผ่านการทดสอบตามหลักสูตรผู้วางแผนการลงทุน
(IP)
นิติบุคคล: มีระบบงานและบุคลากรที่มีความพร้อม และมีผู้บริหารที่ซื่อสัตย์สุจริต
ก) กรณีที่มิได้ปกปิดชื่อจริงของผู้เอาประกันภัย
1. ระบบการรับลูกค้า วิธีการรับลูกค้า และการให้คำแนะนำ -
รวมถึงระบบที่มั่นใจได้ว่าลูกค้ามีความเข้าใจในการทำกรมธรรม์ unit link
2. ระบบการรับคำสั่งซื้อขายจากพนักงานในสังกัดและส่งคำสั่งซื้อขายให้บริษัทจัดการ
3. ระบบการนำส่งเงินค่าขายหน่วยลงทุนให้บริษัทจัดการ
และระบบการนำส่งเงินค่ารับซื้อคืนหน่วยลงทุนให้ลูกค้า
4. ระบบการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์และการเก็บรักษาความลับของลูกค้า
5. ระบบการรับเรื่องร้องเรียน
ข) กรณีปกปิดชื่อจริงของผู้เอาประกันภัย
- มีความพร้อมของระบบงานตามข้อ ก) และระบบเพิ่มเติม ดังนี้
1. ระบบการจัดทำบัญชีผู้ถือหน่วยลงทุนที่แท้จริง
2. ระบบรองรับการออกมติของผู้เอาประกันภัย
3. ระบบการนำส่งข้อมูล รับ
/ส่งเอกสารหรือรายงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการจัดการกองทุน
ให้ผู้เอาประกันภัย

6.2 ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กฎหมายกำหนด
6.3 บุคคลธรรมดาต้องเข้ารับอบรม refresher course อย่างน้อย 1 ครั้งภายในช่วง 2 ปี

ภาคผนวก
ก. คู่มือผู้เอาประกันภัย หรือเอกสารอื่นใดที่ใช้ในการขายกรมธรรม์ มีข้อมูล ดังนี้
: สิทธิของผู้เอาประกันภัย
1. สิทธิของผู้เอาประกันภัยในการยกเลิกการทำกรมธรรม์ในเวลาที่กำหนด เช่น
รายละเอียดที่หากลูกค้า
บอกยกเลิกการทำกรมธรรม์ในระยะเวลาที่กำหนดแล้วจะได้เงินคืนในลักษณะอย่างไร
(ตัวอย่างที่หมายเหตุ)
2. สิทธิในการรับทราบการจัดสรรเบี้ยประกันในการลงทุนในกองทุนรวม
3. สิทธิในการขอรับหนังสือชี้ชวนส่วนข้อมูลรายละเอียดโครงการจากตัวแทน
4. สิทธิในการได้รับทราบรายชื่อของบริษัทจัดการทุกแห่งที่รับจัดการกองทุนรวมควบกรมธรรม์ที่
เสนอขายโดยบริษัทประกันชีวิตนั้น
5. สิทธิในการได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ ของบริษัทจัดการ
บริษัทประกันชีวิต รวมทั้งชื่อ
ที่อยู่ และเลขประจำตัวของตัวแทน
6. สิทธิในการได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับหน่วยลงทุนที่ได้รับคำแนะนำเพื่อซื้อหน่วยลงทุนนั้น
ตลอดจนรับทราบคำเตือนและคำอธิบายเกี่ยวกับความเสี่ยงของการลงทุนในหน่วยลงทุน
7. สิทธิในการได้รับทราบข้อเท็จจริงที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อสิทธิประโยชน์ของผู้เอาประกันภัยหรือต่อการตัดสินใจในการลงทุน
เช่น การขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่อยู่ในขั้นตอนการดำเนินการเพื่อการควบกองทุนรวมหรือการรวมกองทุนรวม
เป็นต้น
8. สิทธิในการได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เช่น
ค่าธรรมเนียมหรือผลตอบแทนที่ตัวแทนอาจได้รับจากการซื้อกรมธรรม์
รวมทั้งการซื้อหรือขายคืนหน่วยลงทุน เป็นต้น
9. สิทธิในการแสดงเจตนาว่าไม่ต้องการรับการติดต่ออีกเป็นระยะเวลา 2 ปี
: การรับข้อร้องเรียนของผู้เอาประกันภัย
10. วิธีการรับข้อร้องเรียน
11. สถานที่รับข้อร้องเรียนของผู้เอาประกันภัย - บริษัทประกันชีวิต กรมการประกันภัย

หมายเหตุ: ตัวอย่างที่ 1 :
บริษัทจัดการแห่งหนึ่งตกลงกับบริษัทประกันชีวิต
ว่าจะนำเบี้ยส่วนที่เป็นเงินค่าซื้อหน่วยลงทุนไปลงทุนในวันที่ระบุในใบจองซื้อ
(หรือใบคำสั่งซื้อ)
หน่วยลงทุนซึ่งเป็นวันถัดจากวันที่ผู้เอาประกันภัยลงนามในการทำสัญญากรมธรรม์
unit link โดยให้สิทธิผู้เอาประกันภัยยกเลิกถอนการแสดงเจตนาได้ภายในระยะเวลา
2 วันนับแต่วันที่ระบุในใบจองซื้อ (หรือใบคำสั่งซื้อ)
ในขณะที่บริษัทประกันชีวิตต้องใช้เวลาพิจารณาผู้เอาประกันภัยอีก 12
วันก่อนส่งมอบกรมธรรม์ให้ผู้เอาประกันภัย
ซึ่งผู้เอาประกันภัยสามารถยกเลิกและขอคืนค่าเบี้ยประกันได้ภายใน 15
วันนับแต่วันส่งมอบกรมธรรม์ ดังนั้น
การแสดงรายละเอียดให้ลูกค้าทราบถึงสิทธิอาจใช้ตาราง ดังนี้
ระยะเวลา ส่วนที่ 1 เงินค่าประกัน ส่วนที่ 2 เงินลงทุนในกองทุนรวม
ยกเลิกภายใน 2 วันนับแต่วันที่ในใบจองซื้อ(หรือใบคำสั่งซื้อ) เต็มทั้งจำนวน -
กรณีลงทุนในช่วง IPO: เต็มทั้งจำนวน
- กรณีลงทุนในช่วงหลัง IPO: ราคา NAV (ไม่คิดค่าธรรมเนียมรับซื้อคืน)
ยกเลิกภายใน 15 วันตั้งแต่วันได้รับกรมธรรม์ เต็มทั้งจำนวน ราคา NAV หัก
ค่าธรรมเนียมรับซื้อคืน
ยกเลิกภายหลัง 15 วันตั้งแต่วันได้รับกรมธรรม์ จำนวนเบี้ย หัก
ค่าดำเนินการของบริษัทประกันชีวิต ราคา NAV หัก ค่าธรรมเนียมรับซื้อคืน

ตัวอย่างที่ 2 : บริษัทจัดการแห่งหนึ่งตกลงกับบริษัทประกันชีวิต
ว่าจะนำเบี้ยส่วนที่เป็นเงินค่าซื้อหน่วยลงทุนไปลงทุน
ในวันที่ระบุในใบจองซื้อหน่วยลงทุนซึ่งเป็นวันถัดจากวันที่บริษัทประกันชีวิตอนุมัติการทำกรมธรรม์
โดยให้สิทธิ
ผู้เอาประกันภัยยกเลิกถอนการแสดงเจตนาได้ภายในระยะเวลา 2
วันนับแต่วันที่ระบุในใบจองซื้อ
ในขณะที่บริษัทประกันชีวิตใช้เวลาพิจารณาผู้เอาประกันภัย 10
วันก่อนส่งมอบกรมธรรม์ให้ผู้เอาประกันภัย
และผู้เอาประกันภัยสามารถยกเลิกและขอคืนค่าเบี้ยประกันได้ภายใน 15
วันนับแต่วันส่งมอบกรมธรรม์ ดังนั้น
การแสดงรายละเอียดให้ลูกค้าทราบอาจเป็น ดังนี้
แสดงรายละเอียดกรณียกเลิกการทำกรมธรรม์ unit link
ส่วนที่ 1 : ค่าเบี้ยประกันสำหรับการให้ความคุ้มครอง -
หากแจ้งให้ตัวแทนทราบภายใน 15 วันนับแต่วันได้รับกรมธรรม์
ผู้เอาประกันภัยจะได้รับเงินคืนเต็มทั้งจำนวน
ส่วนที่ 2 : เงินลงทุนที่จัดสรรเป็นเงินลงทุนในกองทุนรวม
ก) หากแจ้งให้ตัวแทนทราบภายใน 2 วันนับแต่วันที่กรมธรรม์ได้รับอนุมัติ
ผู้เอาประกันภัยจะได้รับเงินคืนเต็ม
ทั้งจำนวน (กรณีลงทุนในกองทุนช่วง IPO) หรือได้รับคืนที่ราคา NAV
(ไม่คิดค่าธรรมเนียมรับซื้อคืน - กรณีลงทุน
ในกองทุนช่วงหลัง IPO)
ข) หากแจ้งให้ตัวแทนทราบภายหลังจากข้อ ก)
ผู้เอาประกันภัยจะได้รับเงินคืนที่ราคา NAV หัก ค่าธรรมเนียมรับซื้อคืน

ข. มาตรฐานในการให้คำแนะนำ
1. ให้คำแนะนำด้วยความสุจริต เป็นธรรม
รวมทั้งใช้ความระมัดระวังเอาใจใส่ในการให้คำแนะนำ
โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้เอาประกันภัยเป็นสำคัญ
2. ให้คำแนะนำตามหลักวิชาอันเป็นที่ยอมรับ
โดยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกองทุนรวมและมีเอกสาร
หลักฐานที่สามารถนำมาใช้อ้างอิงได้
3. ให้คำแนะนำโดยอธิบายให้ผู้เอาประกันภัยทราบถึงลักษณะและความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับหน่วยลงทุนของ
กองทุนรวมที่ให้คำแนะนำนั้น
4. ไม่นำข้อมูลของผู้เอาประกันภัยไปเปิดเผย
เว้นแต่เป็นการเปิดเผยตามหน้าที่ตามกฎหมาย
5. เปิดเผยข้อเท็จจริงที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อสิทธิประโยชน์ของผู้เอาประกันภัยหรือต่อการตัดสินใจ
ในการลงทุน
6. เปิดเผยให้ผู้เอาประกันภัยทราบถึงความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เช่น
ค่าธรรมเนียมหรือผลตอบแทนที่ตัวแทนอาจได้รับจากการซื้อกรมธรรม์และ/หรือกองทุนรวม
7. ไม่ให้คำแนะนำซึ่งอาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิด
หรือละเว้นที่จะเปิดเผยข้อมูลอันเป็นสาระสำคัญ ซึ่งอาจ
ก่อให้เกิดความเข้าใจผิด เช่น
การรับประกันผลตอบแทนในกองทุนรวมที่มิได้มีลักษณะการประกันไว้เช่นนั้น
เป็นต้น หรือให้คำแนะนำโดยมีเจตนาหลอกลวงผู้อื่น
8. ไม่ให้คำแนะนำในลักษณะที่เป็นการส่งเสริมหรือสนับสนุนให้ผู้เอาประกันภัยซื้อหรือขายคืนหน่วยลงทุน
บ่อยครั้งหรือเกินกว่าสมควร
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจะได้รับค่าธรรมเนียมหรือผลประโยชน์ตอบแทนอื่นใดจากการให้บริการการซื้อหรือขายคืนหน่วยลงทุนดังกล่าว
(กรณีตัวแทนได้รับผลประโยชน์ใด ๆ
จากการซื้อหรือขายคืนหน่วยลงทุนของผู้เอาประกันภัย)

W/P Ref.

W/P
Ref.

1. Obtain and review the underwriting guidelines and procedures to
ensure the Company is in line with the guidelines on standards of
sound business and financial practices for Life Insurance Companies.
The u/w and liability policies need to contain the following:

• U/W and liability philosophy (including principles to address the
use of reinsurance and alternative approach)
• description of groups of individuals and/or other classifications
which is prepared to u/w, or is restricted from underwriting
• clearly defined and appropriate levels of delegation of approval
• sound and prudent concentration limits.
• that each analyst has access to the underwriting manuals and guidelines

Select a random sample of 25 policies (over the last 2 months) and
review to confirm that underwriting policies and procedures were
followed. The sample should include all lines of business

2. Determine if documented service standards exist for processing of
underwriting files and for CSI. Verify that:
• these are communicated to the staff
• standards are monitored regularly by management
• evidence that the area is meeting its standards, if not document
reasons for non-compliance

3. Discuss with mgmt the manner in which productivity/performance of
the department is monitored and evaluated. Inquire about any negative
trends, and action taken to address them. Specificially review for:
• Volume of business received / processed
• Approvals and declines
• Follow-up of pending file is adequate
• Verify these reports are forwarded to exec management for review

4. Determine the current process in place for the follow-up of files
requiring information/investigation.
Assess adequacy of the process and review the follow-up queues for
actions taken.

5. Obtain and review the documented procedures for conducting quality
assurance reviews of staff.

6. Assess whether the quality review process is adequate including:
• adequate sample of files/analysts,
• frequency of reviews,
• review includes all functions
• results are tracked to allow for identifying trends
• issues of concern reviewed with analyst audited
• trending reports reviewed to evaluate progress of the underwriters

7. If there are any current agency staff, verify that they are QC'ed
more frequently.

8. Obtain a list of staff QC'ed for the previous 2 months, and verify
that each individual was reviewed.

9. Take a sample of QAR's (one for each staff) and confirm completion.

10. Verify that the results of QAR's are reported to management, by
obtaining the last such report. Through discussion or evidence of
sign-off confirm that management has received and reviewed these
reports.

Life Insurance and Investment Counseling

Life Insurance and Investment Counseling

Oliver Bailey Bruce Urban Mike Lutz

Class: Pre-calculus, calculus, or others if background work on
compound interest is done.

Materials: Graphing calculator or computer software capable of iteration.

Setting, Problem, Background Information, and Report Format: See
student data sheet.

Teacher Notes: The main concept in this project is compound interest.
It can be used at any level where compound interest is discussed.
The lower the level of the class the more background information will
be needed. The more advanced classes such as calculus or pre-calculus
could be given the project without doing much additional background
work, although experience has shown that all students, regardless of
math background, seem to struggle with the idea of compound interest.

Included with this project are two "Background Units" that could be
done: 1) prior to assigning the project, 2) during the class days
while students are working on the assignment, or 3) not at all. You
are the judge as to what your students need. If both Background Units
are done prior to the project, the project should be relatively simple
for advanced math students (which may defeat the idea of a modeling
project). If no prior work is done, probably very few students would
have any idea how to approach the problem. One approach you may wish
to try with advanced classes is to assign the problem at the start of
the unit and have it worth decreasing value each day as the class
progresses through the background units and related textbook materials
.

The background units included with this project are "sketchy" and
"brief" by design. They are not intended to replace your textbook or
your teaching. They are included so that you can quickly see what
concepts the students need to understand in order to successfully
complete the project.

Extensions: A teaching unit on compound interest and life insurance
is an excellent place to do such things as:
1. iterations on calculators
2. spreadsheets on computers
3. probability
4. career work and outside speakers on actuarial science
5. career work and outside speakers on investment counseling
6. study of population growth
7. data analysis with curve fitting

Life Insurance and Investment Counseling
Sample Solution


Policy Year
Annual Premium
Contract Fund
New Money into Contract Fund
11% of Previous Balance
Amount of Premium into Contract Fund
Actual Cost of "Term" Part of Insurance
Death Benefit of the "Term" Insurance
Actual Cost of "Term" Insurance

1
$678
$386
$386
$0.00
$386.00
$292.00
$49661
$292.00

2
$678
$806
$420
$42.46
$377.54
$300.46
$49321
$300.46

3
$678
$1265
$459
$88.66
$370.34
$307.66
$48979
$307.66

4
$678
$1766
$501
$139.15
$361.85
$316.15
$48636
$316.15

5
$678
$2313
$547
$194.26
$352.74
$325.26
$48294
$325.26

6
$678
$2912
$599
$254.43
$344.57
$333.43
$47954
$333.43

7
$678
$3568
$656
$320.32
$335.68
$342.32
$47617
$342.32

8
$678
$4284
$716
$392.48
$323.52
$354.48
$47283
$354.48

9
$678
$5067
$783
$471.24
$311.76
$366.24
$46954
$366.24

10
$678
$5924
$857
$557.37
$299.63
$378.37
$46631
$378.37

11
$678
$6861
$937
$651.64
$285.36
$392.64
$46317
$392.64

12
$678
$7886
$1025
$754.71
$270.29
$407.71
$46014
$407.71

13
$678
$9005
$1119
$867.46
$251.54
$426.46
$45726
$426.46

14
$678
$10230
$1225
$990.55
$234.45
$443.55
$45457
$443.55

15
$678
$11566
$1336
$1125.30
$210.70
$467.30
$45213
$467.30

16
$678
$13026
$1460
$1272.30
$187.74
$490.26
$44998
$490.26

17
$678
$14622
$1596
$1432.90
$163.14
$514.86
$44816
$514.86

18
$678
$16363
$1741
$1608.40
$132.58
$545.42
$44671
$545.42

19
$678
$18265
$1902
$1799.90
$102.07
$575.93
$44568
$575.93

20
$678
$20343
$2078
$2009.20
$68.85
$609.15
$44513
$609.15

Explanation of the Solution: Each year Sue pays $678 for insurance
(column 2). Of this $678 part goes for the actual insurance ("term"
part) and part goes for an investment. The third column (contract
fund) is the amount the insurance company says that Sue would have in
her investment account. The new money in the account (column 4, which
is calculated by taking the current year's balance minus the previous
year's balance) would come from two sources. It would either be
interest paid on the account (which the company claims is 11%) or from
new money Sue puts in the account as part of her insurance premium.
Therefore, if 11% of the previous year=s balance is subtracted from
the new money in the account (column 4 minus column 5), the remaining
amount would have to be the part of the money that Sue paid that went
into her investment account (column 6). If this amount (column 6) is
subtracted from $678, the result is the amount Sue would be paying for
the insurance part (column 7).
So, would Sue earn 11% on her investment? It could be regarded that
way. But, if there is an 11% return on the investment, then the term
insurance is decreasing in value while the cost is increasing (columns
8 and 9). This is logical. The probability of a person dying
increases as age increases (actuarial science), so it would make sense
that either the cost of insurance should increase or the death benefit
decrease or both. Sue probably should compare the term insurance part
of this policy with other term policies in order to see if she could
do better. Terry's claim that the insurance is free after eight years
does not seem to be true, but how could it?

Life Insurance and Investment Counseling
Student Data Sheets
Setting: In the early 1980's a new life insurance company, Fancy Life
Insurance Company (FLICO) appeared. Their marketing scheme was to
replace all of the whole-life policies in the country with FLICO term
policies. Term policies are purchases of insurance only. They only
pay when the insured person dies. At no time is there any "cash
value" for the policy. On the other hand, whole-life policies have a
cash value in addition to the life insurance. Term insurance is
usually less expensive than comparable whole-life policies.
FLICO agents claimed that whole-life policies were really two policies
disguised as one. They claimed that whole-life policies were part
term insurance policies and part investment policies. Additionally,
they claimed that insurance companies really gave a poor return on the
investment part of the whole-life policies. FLICO's marketing scheme
was to get people to cash in their whole-life policies sold by other
companies, purchase FLICO term policies, and invest the money they
saved ("the difference") in a program that would achieve a better
investment return.
The marketing scheme was effective. In the competitive U.S. economy
traditional insurance companies such as Dearborn Life Insurance
Company (DLICO) responded. One of their agents, Terry Ticom,
approached one of his customers, Sue Sultan, who was considering
making the switch to FLICO. Terry told Sue that he had a policy that,
if she wanted to invest some extra money, would get her an eleven
percent (11%) return on her investment. The policy would be a $50,000
policy. Following is a table of information on the policy:

Policy
Year
Annual
Premium
Contract
Fund
Cash
Value
Death
Benefit

1
$678
$386
$4
$50,047

2
$678
$806
$399
$50,127

3
$678
$1,265
$831
$50,244

4
$678
$1,766
$1,306
$50,402

5
$678
$2,313
$1,827
$50,607

6
$678
$2,912
$2,502
$50,866

7
$678
$3,568
$3,260
$51,185

8
$678
$4,284
$4,079
$51,567

9
$678
$5,067
$4,965
$52,021

10
$678
$5,924
$5,924
$52,555

11
$678
$6,861
$6,861
$53,178

12
$678
$7,886
$7,886
$53,900

13
$678
$9,005
$9,005
$54,731

14
$678
$10,230
$10,230
$55,687

15
$678
$11,566
$11,566
$56,779

16
$678
$13,026
$13,026
$58,024

17
$678
$14,622
$14,622
$59,438

18
$678
$16,363
$16,363
$61,034

19
$678
$18,265
$18,265
$62,833

20
$678
$20,343
$20,343
$64,856

Age 65
$678
$37,460
$37,460
$83,210

Terry explained to Sue that he doubted whether she could find an
investment anywhere that guaranteed her an 11% return as this policy
did. Additionally, he explained that from the eighth year on the
entire $678 premium (and even more) would go into her contract fund so
that she was actually getting the life insurance free in addition to
the 11% investment return.

Background Material and Definition of terms:

1. There are two separate quantities involved with insurance. One is
the death benefit. It is paid when the insured person dies. The
second quantity is any other kind of benefit payment. It is
considered an investment (similar to a savings account). Term
policies only have a death benefitCthere is no investment part of the
policy. It is important in this problem to separate the two.
2. The annual premium is the amount the customer pays each year for
the policy. For a policy other than a term policy, part of the
premium goes toward the life insurance and part is an investment. The
issue in this problem is to actually calculate how much of the premium
goes toward the insurance and how much goes as an investment.
3. The contract fund is the amount the customer has in his/her
investment account. (Theoretically, it should equal the cash value.)
4. The cash value is the amount that the policy holder would receive
if he/she chose to terminate the policy. It represents the investment
portion of the policy, so it is available to the policy holder.
5. The death benefit is the total amount that would be paid to the
beneficiary upon the death of the insured (as long as the policy is
still in effect). Logically, it would seem to equal the life
insurance benefit plus the investment.

Problem: Analyze the data and answer these questions:

1. Would Sue be getting an 11% return on the money she invested in the
investment portion of the policy as Terry claimed? If not, what is
the rate?
2. Is the life insurance free after the eighth year as Terry claimed?
In other words, is the "term"-insurance portion of the policy free?
3. What is the cost of the "term"-insurance portion each of the twenty years?
4. Why doesn't the amount in the contract fund always equal the cash value?
5. Why isn't the death benefit equal to $50,000 plus the cash value?
6. EXTRA CHALLENGE: How old was Sue when the table was developed for her?

Report Format: Type a report analyzing the problem. A table similar
to the one provided with several additional columns breaking down the
data further would probably be a useful aid in your explanation (which
means you may wish to use a computer spreadsheet program). Be sure to
explain in detail what the information in your table means.

Life Insurance and Investment Counseling
Background Unit 1CCompound Interest

Compound interest is the paying of interest on interest. It can
probably be best understood by the study of a few examples:

Example 1: $1000 is placed in a savings account paying 6% annual
percentage rate (APR) compounded annually. Analyze what happens in
the account for the first four years.
Solution 1:
$1000 Invested at 6% Interest Compounded Annually

Elapsed Time (Years)
Interest Earned
New Balance

0
0
$1000.00

1
$1000.00 * .06 = $60.00
$1000.00 + $60.00 = $1060.00

2
$1060.00 * .06 = $63.60
$1060.00 + $63.60 = $1123.60

3
$1123.60 * .06 = $67.42
$1123.60 + $67.42 = $1191.02

4
$1191.02 * .06 = $71.46
$1191.02 + $71.46 = $1262.48

Notice that each time interest is calculated it is calculated on the
previous balance instead of just $1000. This makes the interest more
each time than the $60 that it would be otherwise.

Example 2: $1000 is placed in a savings account paying 6% APR
compounded semiannually. Analyze what happens in the account for the
first four years.
Solution 2:
$1000 Invested at 6% Interest Compounded Semiannually

Elapsed Time (Years)
Interest Earned
New Balance

0.0
0
$1000.00

0.5
$1000.00 * .03 = $30.00
$1000.00 + $30.00 = $1030.00

1.0
$1030.00 * .03 = $30.90
$1030.00 + $30.90 = $1060.90

1.5
$1060.90 * .03 = $31.83
$1060.90 + $31.83 = $1092.73

2.0
$1092.73 * .03 = $32.78
$1092.73 + $32.78 = $1125.51

2.5
$1125.51 * .03 = $33.77
$1125.51 + $33.77 = $1159.28

3.0
$1159.28 * .03 = $34.78
$1159.28 + $34.78 = $1194.06

3.5
$1194.06 * .03 = $35.82
$1194.06 + $35.82 = $1229.88

4.0
$1229.88 * .03 = $36.90
$1229.88 + $36.90 = $1266.78

Notice that the interest is now calculated twice per year instead of
once. Also, notice that if the interest rate is 6% for the entire
year it is 6/2 (or 3%) for each 6-month period. Additionally, note
that there are now 8 payment periods (twice per year for four years)
instead of the previous 4 payment periods (once per year for four
years).

Life Insurance and Investment Counseling
Background Unit 2CLife Insurance & Compound Interest
Providing financial security for the future can be done in many
different ways. One way is investing money that will yield a return,
such as a savings account demonstrated in "Background Unit 1."
Another way is purchasing life insurance. Life insurance pays a death
benefit to the beneficiary listed in the policy upon the death of the
insured. One problem with this type of investment is that it yields
no financial return to the insured.
Historically, life insurance companies have wanted to provide both of
these types of financial security. (Of course, what they really want
is the income from these kinds of investments.) As both types of
investments have often been sold in one policy the "lines have been
blurry" as to what is being spent on the death benefit, what is being
invested, and what the true rate of return is.
Let's look at a simple example to see how this might work: Mary is 30
years old and has two children, ages 3 and 7. Since her salary
represents 2/3 of her family's income, she is concerned about how her
family would live if she were to die suddenly. She contacts an
insurance agent. The agent tells her that for $500 per year she can
purchase $100,000 worth of life insurance. This means that upon
Mary's death her husband (whom she listed as beneficiary in the
policy) would receive $100,000. There would be no other financial
benefit for the family.
Mary's agent tells her that she should also plan for her and her
husband's retirement by making regular investments. He suggests that
an excellent way of doing this would be to simply include this as part
of the insurance policy. He said that he could write her a policy
where she could pay the $500 per year for the death benefit and pay an
additional $100 per year that he said would return her 10% APR. It
would look like this:

Policy
Year
Cost of Death
Benefit
Cost of
Investment
Total Premium
Interest on
Investment
Amount in
Contract Fund
Death
Benefit
Cash Value

1
$500
$100
$600
$0*.10=$0
$100+$0=100
$100000+$100= $100100
$100

2
$500
$100
$600
$100*.10=$10
$100+100+10
$100210
$210

3
$500
$100
$600
$210*.10=$21
$210+100+21
$100331
$331

4
$500
$100
$600
$33.10
$464.100
$100464.10
$464.10

5
$500
$100
$600
$46.41
$610.51
$100610.51
$610.51

6
$500
$100
$600
$61.05
$771.56
$100771.56
$771.56

7
$500
$100
$600
$77.16
$948.72
$100948.72
$948.72

8
$500
$100
$600
$94.87
$1143.59
$101143.59
$1143.59

9
$500
$100
$600
$114.36
$1357.95
$101357.95
$1357.95

10
$500
$100
$600
$135.80
$1593.75
$101593.75
$1593.75
The annual premium is what Mary would pay each year for the policy.
The contract fund is the amount that Mary has invested (similar to a
savings account). This is the amount that is available to her
"similar to" a savings account. (She does not need to die in order to
get this money, but there are usually some restrictions.) The death
benefit is what Mary's husband would receive in case of her death.
Notice that he would receive the $100,000 that was the insurance
policy plus the additional money that they had added in investments.

Search for content in this blog.

Life Insurance